สินเชื่อเงินกู้ฉุกเฉินช่วยโควิด [ สำหรับพนักงานประจำ ] 50,000 บาท รอบ 2



ลิงค์ธนาคาร :
ช่องทางลัดสำหรับผู้มีรายได้ประจำ :

นายวิทัย รัตนาก ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน เปิดเผยว่าตามที่รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบมาตรการดูแลและเยียวยผลกระทบจากการแพระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งธนาคารออมสินได้ดำเนินการเร่งให้ความช่วยเหลือหลายมาตรการ รวมถึงร่วมบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชนผ่านการให้สินเชื่อฉุกเฉินเพื่อบรรเทาผลกระทบ ด้วย “โครงการสินเชื่อพิเศษ” ตามมติคณะรัฐมนตรีเพื่อเสริมสภาพคล่องชั่วคราวในการดำรงชีวิตแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว ธนาคารออมสินสนับสนุนสินเชื่อวงเงินรวม 20,000 ล้านบาทด้วย สินเชื่อเพื่อเป็นคำใช้จ่ายสำหรับผู้มีรายได้ประจำปรากฎว่ามีผู้สนใจยื่นกู้จำนวนมากจนเต็มวงเงินในเวลาอันรวดเร็ว แต่ทั้งนี้เมื่อธนาคารฯ ได้รับเรื่องกู้และเร่งพิจารณาตามกระบวนการสินเชื่อแล้ว ปรากฎมีผู้ยื่นกู้ไม่ผ่านเกณฑ์หรือคุณสมบัติไม่ตรง และไม่มาติดต่อธนาคารตามที่ได้แจ้งข้อความผ่าน SMS จึงทำให้ยังมีวงเงินอยู่อีกจำนวนหนึ่ง ขณะเดียวกันยังมีผู้ได้รับผลกระทบที่สนใจยื่นกู้อีกเป็นจำนวนมาก ธนาคารออมสินจึงเปิดให้บริการสินเชื่อนี้อีกครั้ง พร้อมทั้งอำนวยความสะดวกด้วยการเปิดให้ยื่นเรื่องผ่านเว็บไซต์ธนาคารออมสิน www.gsb.or.th โดยจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2563 เป็นต้นไป

————————————————————————————

พูดคุยกับเราได้ที่
FB :

ติดต่องาน
reviewwa2017@gmail.com

#reviewwa

โพสต์ที่เกี่ยวข้อง

ออมสินปล่อย ‘กู้เงินฉุกเฉิน’ 1 หมื่น และ 5 หมื่น กู้ง่าย ดอกเบี้ยต่ำ ไม่ต้องค้ำ! #รอดไปด้วยกันออมสินปล่อย ‘กู้เงินฉุกเฉิน’ 1 หมื่น และ 5 หมื่น กู้ง่าย ดอกเบี้ยต่ำ ไม่ต้องค้ำ! #รอดไปด้วยกัน

สถานการณ์โควิด-19 ที่ยืดเยื้อจนข้ามมาปี 2567 แต่ดูเหมือนจะไม่มีทีท่าว่าจะคลี่คลายลงแต่อย่างใด กลับทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ทุกคนต้องประสบปัญหาเศรษฐกิจ โดยหนึ่งในมาตรการที่ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างมากนั่นก็คือ มาตรการการเสริมสภาพคล่องทางการเงินของประชาชน ผ่านธนาคารออมสิน โดยนายวิทัย รัตนากร ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน กล่าวว่า ธนาคารออมสิน ได้ดำเนินโครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำสำหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโควิด-19 ดังนี้ 1. โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับผู้มีอาชีพอิสระที่ได้รับผลกระทบจากไวรัสโคโรนาโควิด-19 หรือ สินเชื่อฉุกเฉิน